วันพุธที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2555

การเคลื่อนที่ในชีวิตประจำวัน


      เนื่องจากว่าในชีวิตประจำวันของเรามีเรื่องที่เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุอยู่มากมาย  เช่น การวิ่งของรถยนต์  การโยนก้อนหิน  และการตกของสิ่งของจากที่สูงลงสู่ที่ต่ำ เป็นต้น แต่ไม่มีผู้ใดสนใจที่จะสังเกตหรือศึกษาเรื่องนี้เลย จึงเป็นเหตุให้ผู้จัดทำอยากจะศึกษา เกี่ยวกับเรื่องการเคลื่อนที่ของวัตถุ เพื่อให้เกิดความเข้าใจ และรู้ลักษณะการเคลื่อนที่ของวัตถุนั้นๆ โดยใช้ความรู้ทางฟิสิกส์ในการวิเคราะห์

ติวฟิสิกส์ การเคลื่อนที่

การเคลื่อนที่

การเคลื่อนที่ในแนวตรง
ลักษณะของการเคลื่อนที่แบบนี้เป็นพื้นฐานของการเคลื่อนที่ เพราะทิศทางการเคลื่อนที่จะมีทิศทางเดียวแต่อาจจะเคลื่อนที่ไป-กลับได้ รูปแบบการเคลื่อนที่อาจจะแตกต่างกันออกไป
อัตราเร็ว อัตราเร็วเฉลี่ย เมตร/วินาที
s = ระยะทางที่เคลื่อนที่ได้
t = เวลาในการเคลื่อนที่
ความเร็ว ความเร็วเฉลี่ย เมตร/วินาที
s = การขจัดที่ได้
ความเร่ง เมตร/วินาที2
a = ความเร็วที่เปลี่ยนแปลงของวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่

การเคลื่อนที่ในแนวตรงด้วยความเร่งคงที่ มีสูตรดังนี้
1. v = u + at
4. v2 = u2 + 2as
u = ความเร็วเริ่มต้น
v = ความเร็วตอนปลาย (เมื่อเวลาผ่านไป t )
s = ระยะทาง
a = ขนาดของความเร่ง
*ในกรณีที่ความเร็วเพิ่มขึ้น v > u a เป็น + และในกรณีที่ความเร็วลดลง v < u a เป็น -

ข้อสังเกตุ
1. u = 0 แสดงว่าวัตถุเคลื่อนที่จากจุดหยุดนิ่ง
2. v = 0 แสดงว่าวัตถุเคลื่อนที่ไปจนกระทั่งหยุดนิ่ง
3. a = 0 แสดงว่าวัตถุเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่ จะได้ S = vt

การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
เป็นการเคลื่อนที่ผสมระหว่างในแนวราบ ซึ่งเคลื่อนที่ด้วย ความเร็วคงที่ กับแนวดิ่งซึ่งเคลื่อนที่แบบอิสระโดยมี ความเร่ง g = 10 m/s2
1. ในแนวดิ่ง (แกน y )
ระยะที่ขึ้นได้สูงสุด
2. ในแนวราบ (แกน x )
S = ut
ระยะที่เคลื่อนที่ได้ตามแนวแกน x
เวลาทั้งหมดในการเคลื่อนที่
ความเร็วของวัตถุที่ตำแหน่งใด ๆ